เรื่อง
“ภาษาถิ่นก็ภาษาไทย”
บทนำ
“ภาษาคือ ความเป็น ปรัชญา ศาสนา วิถีชีวิต วัฒนธรรมของคนในชาติ ถ้าคนไทยลืมภาษาไทย ก็เท่ากับว่าลืมรากเหง้าของตนเอง” ฉันคิดคำประพันธ์นี้ขึ้น ในขณะที่นั่งนึกถึงเหตุการณ์ต่างๆรอบตัว
“พันพรือ ม่ายพรือ หลบบ้าน หูนอน รถถีบ” ต่างเป็นคำที่ฉันฟังดูคุ้นเคยอบอุ่นของพี่น้องปักษ์ใต้ ในสมัยวัยเด็ก
ของคนรุ่นฉัน แต่ในสถานการณ์ขณะนี้ทำให้บรรยากาศอันอบอุ่นที่ปลายด้ามขวานของพวกเราเหล่านั้นดูบางตา
ลงทุกขณะ สืบด้วยปัญหาเกี่ยวกับเรื่องความมั่นคง ชัดเจนที่สุดคงหนีไม่พ้น 3 จังหวัดอันลือเลื่องที่มันยังคงอยู่
ท้าทายอำนาจรัฐบาลสมัยแล้วสมัยเล่า ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นอาจมีสาเหตุมาจากจุดเล็กๆที่ทุกคนมองข้าม
“รากเหง้าของภาษา” ความขัดแย้งของภาษาทางภาคใต้ก็มีมากมายเช่นกันทั้ง ภาษาตากใบ ภาษามลายู ภาษาถิ่น
ภาษาจึงเป็นประเด็นหัวใจประเด็นหนึ่งที่เป็นเงื่อนไขของความขัดแย้งที่ ปะทุขึ้นเป็นความรุนแรงในช่วงหลายปี
ที่ผ่านมา คนมลายูมุสลิมจำนวนหนึ่งมองว่าโรงเรียนเป็นสถานที่ที่รัฐไทยใช้เพื่อกลืน วัฒนธรรมของพวกเขา
และนั่นดูเหมือนจะเป็นเหตุผลว่าทำไมโรงเรียนของรัฐหลายร้อยโรงจึงถูกเผา
บทนำ
“ภาษาคือ ความเป็น ปรัชญา ศาสนา วิถีชีวิต วัฒนธรรมของคนในชาติ ถ้าคนไทยลืมภาษาไทย ก็เท่ากับว่าลืมรากเหง้าของตนเอง” ฉันคิดคำประพันธ์นี้ขึ้น ในขณะที่นั่งนึกถึงเหตุการณ์ต่างๆรอบตัว
“พันพรือ ม่ายพรือ หลบบ้าน หูนอน รถถีบ” ต่างเป็นคำที่ฉันฟังดูคุ้นเคยอบอุ่นของพี่น้องปักษ์ใต้ ในสมัยวัยเด็ก
ของคนรุ่นฉัน แต่ในสถานการณ์ขณะนี้ทำให้บรรยากาศอันอบอุ่นที่ปลายด้ามขวานของพวกเราเหล่านั้นดูบางตา
ลงทุกขณะ สืบด้วยปัญหาเกี่ยวกับเรื่องความมั่นคง ชัดเจนที่สุดคงหนีไม่พ้น 3 จังหวัดอันลือเลื่องที่มันยังคงอยู่
ท้าทายอำนาจรัฐบาลสมัยแล้วสมัยเล่า ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นอาจมีสาเหตุมาจากจุดเล็กๆที่ทุกคนมองข้าม
“รากเหง้าของภาษา” ความขัดแย้งของภาษาทางภาคใต้ก็มีมากมายเช่นกันทั้ง ภาษาตากใบ ภาษามลายู ภาษาถิ่น
ภาษาจึงเป็นประเด็นหัวใจประเด็นหนึ่งที่เป็นเงื่อนไขของความขัดแย้งที่ ปะทุขึ้นเป็นความรุนแรงในช่วงหลายปี
ที่ผ่านมา คนมลายูมุสลิมจำนวนหนึ่งมองว่าโรงเรียนเป็นสถานที่ที่รัฐไทยใช้เพื่อกลืน วัฒนธรรมของพวกเขา
และนั่นดูเหมือนจะเป็นเหตุผลว่าทำไมโรงเรียนของรัฐหลายร้อยโรงจึงถูกเผา
เด็กๆคุ้นเคยกับเสียงภาษาถิ่นรอบตัวมาตั้งแต่เยาว์วัย
เด็กทารกหัดพูดและพัฒนาภาษาจากคนใกล้ชิดเด็กๆถูกเติบโตมาด้วยภาษาแม่เช่น แม่พูดมลายูคุยกับลูกๆ
แต่ก็ยังมีครอบครัวอีกบางส่วนที่กลัวว่าลูกจะต้องอับอาย หากสื่อสารด้วยภาษาที่ไม่ใช่ภาษากลางของประเทศ
จนเจเนอเรชั่นเด็กใต้รุ่นใหม่จำนวนมาก ไม่สามารถใช้ภาษาบ้านเกิดของตนได้ จนดูเหมือนว่ามันกำลังจะเลือนหายลงไปทุกวันทุกวัน
ในความคิดของฉันถ้าเปรียบภาษาถิ่นกับคนก็เสมือนกับว่าอยู่ในวาระสุดท้ายของชีวิต
ถึงขนาดที่เด็กรุ่นใหม่ๆมีความคิดว่า “แหลงทองแดง”
เป็นเรื่องสุดเชย เมื่อไม่นานมานี้
นักภาษาศาสตร์ของไทย ศ.ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ ได้กล่าวไว้ว่า “ปัจจุบันภาษาถิ่นทั่วโลกกำลังอยู่ในภาวะวิกฤติเพราะโลกไร้พรมแดนถึงกันหมด
ทำให้ภาษาถิ่นถูกละเลย ส่วนประเทศไทย ในโรงเรียนก็ใช้แต่ภาษากลาง
ทำให้เกิดการถดถอยทางภาษาลูกหลานไม่อยากใช้ภาษาถิ่นเพราะอาย พ่อแม่ก็ไม่ส่งเสริม
หากไม่ทำอะไรเชื่อว่าภายในศตวรรษนี้ภาษาถิ่นร้อยละ 90 จะตาย ซึ่งปัจจุบันมี 15 ภาษาถิ่นในไทยที่อยู่ในภาวะวิกฤติ”
แต่ครั้นจะโทษที่ตัวเด็กเสียทีเดียวก็ไม่ได้ คนที่ชอบโชว์ภูมิหลายๆท่าน ต่างแสดงทัศนคติด้านลบโจมตีเด็กๆว่า ไม่รักษาประเพณีบ้าง ไม่รักษ์บ้านเกิดบ้าง ทั้งนี้ทั้งนั้นเราควรดูครอบครัวด้วย พ่อแม่อายไม่ยอมให้ลูกพูดภาษาถิ่นมีอีกหลายๆครอบครัวที่ฟังแล้วต้องพยักหน้า หงึกๆ เพราะตนเองก็เป็นเหมือนกัน แต่หารู้ไม่ว่า การพูดภาษาถิ่นเป็นการแสดงความเป็นตัวเอง มันดูน่ารักมากกว่าเชยอยู่หลายพันเท่า
แต่นั่นไม่ใช่ทั้งหมด.
คำว่า “ชาติยิ่งใหญ่” ครอบงำกดขี่ทุกสิ่ง ระบบภาษาใต้จึงเป็นเพียงภาษาที่ต่ำต้อย การพูดสำเนียงทองแดงกลายเป็นเรื่องตลกขบขัน ภาษาที่แตกต่างแสดงให้เห็นถึงความเป็นชนกลุ่มน้อย ที่ไม่มีพื้นที่อยู่ในชาติ ไม่มีความเท่าเทียมทางสังคม ไม่เป็นที่ยอมรับของคนหมู่มาก และต้องได้รับการสั่งสอนให้พูดภาษากลางได้แบบที่คนศูนย์กลางอำนาจคือกรุงเทพ เท่านั้น
บทความของ อาจารย์ นพพร ประชากุล ที่ชื่อว่า วิพิธและอนิจจังแห่งภาษากล่าวไว้ว่า กระบวนการที่รัฐเข้าไปยึดครองการเข้ารหัสภาษา ดั่งเช่น ในช่วงสมัย รัชกาลที่6 มีการขายหนังสื่อที่ชื่อว่า หนังสือแต่งดีออกมา วรรณคดีเหล่านั้นล้วนใช้ภาษากลางทั้งหมด เพื่อชนชั้นสูงในเมืองหลวง ถึงแม้จะมีขุนช้างขุนแผนหลุดมาแต่ก็ถูกตัดคำภาษาถิ่นออกไปจำนวนมาก ส่งผ่านวาทกรรมว่าด้วยหนังสือทำดีผ่านสถานศึกษาและหนังสือพิมพ์การที่เด็กนักเรียน ถูกบังคับให้อ่านท่องจำวรรณกรรมหนังสือแต่งดีเหล่านี้ ทุกวันๆ เหมือนการถูกฝังชิป ภาษากลางซ้ำกันไปมาทุกๆวัน และ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งการที่ใช้ภาษาทางการ บังคับให้ออกเสียงตัว “ร” ให้กระดกลิ้นรัวๆ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นไปไม่ได้ที่คนพูดภาษาเหนือท้องถิ่น จะออกเสียงไม่ได้ นอกจากนี้ สื่อช่องพื้นฐานฟรีทีวี เสนอแต่ภาษากลางไม่มีช่วงรักษ์ภาษาถิ่น แสดงถึง ความไม่เท่าเทียมกันของคนในสังคม
ความจริงที่ว่า “จริงอยู่คนไม่ได้ตายไปไหน แต่ภาษาต่างหากที่ตาย การที่ภาษาตายแต่ภูมิปัญญาจะไม่ตายนั้นเป็นเรื่องไม่จริง เพราะภูมิปัญญามันถูกมัดแน่นไว้กับภาษา นอกจากนี้ อัตลักษณ์ รากเหง้าความเป็นตนเองก็หายไปด้วย จริงๆภาษาถิ่นเป็นการสะท้อนความร่ำรวยของภาษาไทยเสียด้วยซ้ำ” จะแสดงให้เราเห็นแบบชัดเจนในภายภาคหน้า โครงการ ทวิภาษา ในจังหวัดชายแดกใต้ มีขึ้นเพื่อ ป้องกันการตายของภาษาถิ่นเปรียบเสมือนโรงพยาบาลที่เกิดขึ้นเพื่อรักษาภาษาถิ่นไม่ให้ตายจากกันไป ภายใต้แนวคิดที่พวกเขาเชื่อว่า “ทวิภาษา นำพาสันติสุข” กรอบแนวคิดที่ว่า จะทำอย่างไรให้ชาวงมุสลิมไม่รู้สึกว่าพวกเราเป็นชนกลุ่มน้อยของสังคมโดยตัดสินจากภาษาถิ่นของเขา
นอกจากนี้ยังเป็นการรักษ์ภาษาถิ่นทางอ้อมด้วยโดยมีโรงเรียนนำร่อง 4แห่ง ใน 4จังหวัด โรงเรียนบ้านประจัน ในพื้นที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านบึงน้ำใส อ.รามัน จ.ยะลา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 10 อ.เมือง จ.นราธิวาส
โรงเรียนตำมะลังเหนือ อ.เมือง จ.สตูล การบูรณาการการทำงานภายใต้การนำยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพทรัพยากร มนุษย์มาใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม เพิ่มโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งการอนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อให้เกิดความภาคภูมิ ใจในถิ่นฐานบ้านเกิดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นด้วย ส่วนการสอนจะใช้เทคนิค "Total Physical Response (TPR)" หรือระบบการสอนที่เน้นทักษะการฟัง-พูด โดยใช้การออกคำสั่งเป็นภาษาไทยสั้นๆ เช่น ยืน นั่ง กระโดด โบกมือ เพื่อให้เด็กปฏิบัติตาม เป็นการสอนแบบ “พัฒนาการเรียนรู้โดยเริ่มต้นจากสิ่งที่รู้ไปสู่สิ่งที่ไม่รู้”
ที่โรงเรียนบ้านประจัน ต.ประจัน อ.ยะรัง จ.ปัตตานี พบว่าการเรียนการสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ครู จะเน้นไปที่การเล่านิทานภาพเป็นภาษามลายู มีการตั้งคำ ถาม เพื่อให้เด็กใช้จินตนาการและพูดตอบโต้
แต่พอชั้นอนุบาล 2 จะเริ่มสอนในหมวดพยัญชนะ อาทิ ตัว ร.เรือ หรือ "รอดียู" ในภาษามลายู มีความหมายว่า "วิทยุ" โดยครูจะสะกดทีละพยางค์ และให้เด็กอ่านตาม โดยในแต่ละวันจะเน้นการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างครูกับเด็ก เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง-การพูดภาษาไทยให้เด็กได้ฟังและปฏิบัติตาม เช่น ครูสั่งให้ยืนพร้อมกับโบกมือ และสั่งให้เด็กทำท่าทางต่างๆ ด้วยคำสั่งเป็นภาษามลายู และภาษาไทยง่ายๆ
ส่วนชั้น ป.1 ในวิชาคณิตศาสตร์ เป็นการฝึกทักษะการนับด้วยภาษามลายูถิ่น และภาษาไทย โดยเริ่มนับตั้งแต่ 1-10, 20, 30 จนถึงหลัก 100 สามารถต่อยอดการเรียนรู้ไปสู่ภาษามลายูกลาง อักษรยาวี และภาษามลายูกลางอักษรรูมี หรือ ภาษามาเลเซีย รวมทั้งยังสามารถพัฒนาต่อยอด ไปสู่ภาษาอินโดนีเซีย บรูไน ซึ่งเป็นภาษาเพื่อนบ้านที่สำคัญในประชาคมอาเซียน นอกจากนั้นภาษาที่ใช้มากที่สุดในประชาคนอาเซียนคือภาษามลายูอีกด้วย ดังนั้นเยาวชนจะมีพื้นฐานการศึกษาผ่านฐาน ทางภาษาที่แข็งแกร่งซึ่งเป็นภาษาสำคัญต่อการสื่อสารและสร้างสัมพันธมิตรที่ดีในกลุ่มประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน
หลักการและเหตุผล
เมื่อครั้งหนึ่งฉันจำได้ว่าเห็นพ่อหลวงของแผ่นดินผ่านจอแก้วกับพระบรมราโชวาทที่จำได้ขึ้นใจ
“ชาติไทยเรามีภาษาของเราใช้เองเป็นสิ่งอันประเสริฐอยู่แล้ว เป็นมรดกอันมีค่าตกทอดถึงเรา ทุกคนจึงมีหน้าที่ต้องรักษาไว้” เพราะภาษาไทยเรานี้มีทำนอง เป็นการแสดงตัวตนของคนในชาติ ความเป็นวิถีชีวิต ปรัชญา วัฒนธรรม ภาษาถิ่นก็เปรียบเสมือนกับความร่ำรวยของภาษาไทย ที่คำศัพท์คำหนึ่ง จะสามารมีชื่อเรียกออกไปได้หลายชื่อ
แสดงให้เห็นว่า ภาษาถิ่นก็คือภาษาไทย ไม่ควรแบ่งแยกความเป็นชาติพันธ์ เสมือนเป็นการแบ่งชนชั้นของสังคม
จนเกิดกลายเป็นปัญหาชายแดนใต้ในปัจจุบัน หนึ่งในสาเหตุอาจเป็นเพราะข้อเสียสุดโต่งในระบบทุนนิยมที่
ประเทศเรากำลังเป็น ช่องว่างระหว่างรายได้ที่ฟอนเฟะต่างกันราวฟ้ากับเหว ทำให้เกิดการแบ่งชนชั้นและความ
เป็นชาติที่โคตรจะเข้มข้นของเรา ทำให้คิดว่าต้องทำตามคนส่วนใหญ่ถึงจะถูก ชนกลุ่มน้อยเป็นเรื่องที่มองข้ามไปของสังคม อีกหนึ่งในพระราชดำรัสของพ่อหลวงคือ "เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษาก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียงคือให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้หมายความว่าวิธีใช้คำมาประกอบประโยค นับเป็นปัญหาที่สำคัญ ปัญหาที่สามคือความร่ำรวยในคำของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ำรวยพอ
ต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้... สำหรับคำใหม่ที่ตั้งขึ้นมีความจำเป็นในทางวิชาการไม่น้อย แต่บางคำที่ง่ายๆ ก็ควรจะมี ควรจะใช้คำเก่าๆ ที่เรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะมาตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก..." เป็นที่รับรู้กันว่าประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีอัตลักษณ์ด้าน ภาษา ซึ่งแตกต่างจากไทยกลางซึ่งเป็นภาษาราชการ และภาษาไทยพื้นเมืองของคนในภูมิภาคอื่นทั่วประเทศ เพราะคนที่นี่กว่าร้อยละ 83 ใช้ภาษา "มลายูถิ่น" ในการสื่อสาร ซ้ำร้ายเด็กอีกจำนวนหนึ่งถึงขั้นปฏิเสธการศึกษาสายสามัญ ส่งผลกระทบต่อการหางานทำ และก่อปัญหาอื่นๆ ตามมามากมายการศึกษาของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และต่ำที่สุดในประเทศ
จึงเกิดการรวมตัวเป็นโครงการ ทวิภาษา มีโรงเรียนนำร่อง 4 แห่ง 4จังหวัดภาคใต้ คือ โรงเรียนบ้านประจัน
ในพื้นที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี โรงเรียนบ้านบึงน้ำใส อ.รามัน จ.ยะลา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 10 อ.เมือง จ.นราธิวาส
โรงเรียนตำมะลังเหนือ อ.เมือง จ.สตูล
เส้นเขตแดนทางภูมิศาสตร์เป็นเพียงเส้นสมมุติที่ถูกกำหนดโดยแต่ละ ประเทศ และเส้นเขตแดนในแต่ละยุคสมัยสามารถเปลี่ยนแปลงได้ในขณะที่บริเวณที่เป็นชายแดนของแต่ละประเทศนั้นมีการใช้วัฒนธรรมร่วมกันมานาน
ก่อนจะมีเส้นเขตแดนด้วยซ้ำ ดังนั้น ผู้คนตามบริเวณแนวชายแดนจึงสามารถสื่อสารและเข้าใจกันได้ง่ายกว่าหาก
ใช้ วัฒนธรรมเป็นตัวกลาง หากเราไม่ใช่คนท้องถิ่นนั้น แต่จำเป็นต้องใช้ชีวิตที่นั่น การเรียนรู้ภาษาถิ่นที่เราอาศัย
อยู่จะช่วยทำให้เข้าใจวัฒนธรรมในท้องถิ่นได้ ดียิ่งขึ้น ส่งผลถึงการยอมรับจากชาวบ้านที่นั่นด้วย
นอกจากนี้การเข้ามาของ Globalization ทำให้ความเป็น Localization หดหายไป โลกาภิวัตน์มาถึงเป็นยุคที่การสื่อสารไร้ที่สิ้นสุด เราเป็นหมู่บ้านโลก หรือ Global village ทำให้วัฒนธรรมต่างๆที่ถูกสร้างผ่านสื่อจำนวนมาก ไหลเวียนเข้ามาได้ง่าย เกิดความเป็น Pop culture ที่ทำให้ Traditional culture เลือนไปทีละนิด ทีละนิด ทั้งสื่อหนังสือพิมพ์ สื่อหนังสือ สื่อกระจายเสียงต่างพากันใช้ภาษากลาง ทำให้เด็กรุ่นใหม่ๆ ห่างเหินความเป็นท้องถิ่น
เข้าไปทุกที นอกจากนี้ปัจจุบันรัฐบาลเริ่มโหมกระหน่ำการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเตรียมตัวสู้อาเซียน ทำให้สื่อมากมายให้ความสนใจภาษาอังกฤษ หลักสูตรการศึกษาหลงลืมเรื่องภาษาถิ่น อันที่จริงก็หลงลืมกันมานานแล้ว
มุ่งแต่การก้าวสู่ AEC ด้วยภาษาอังกฤษ โดยหารู้ไม่ว่า ภาษามลายู ของคนใต้ ก็สามารถนำไปสู้การศึกษา อักษรยาวี อักษรรูมี เพื่อบรูไน และประเทศมาเลเซีย นอกจากนี้หลายๆประเทศยังใช้ จะเห็นว่าภาษาท้องถิ่นของแต่ละประเทศถ้าได้ถูกศึกษาแล้วนำไปใช้กับคนชาตินั้นๆ มันดูดีกว่าใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารเยอะ รัฐบาลควรให้ความสนใจใน
การสอนแบบทวิภาษา เพราะนอกจากจะเป็นการเตรียมตัวสู่อาเซียนที่ดีแล้ว ผลวิจัยส่วนใหญ่ยังออกมาอีกว่า
เด็กที่เรียนแบบทวิภาษามีพัฒนาการทางสมองเรียนรู้ได้ดีกว่าเด็กที่เรียนภาษาเดียว เพราะทวิภาษาอาศัยการจดจำ
การต่อเติมความหมาย อักษร ทำให้ฝึกให้เด็กริเริ่มคิด ขีดเขียน นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ถ้าเราอนุรักษ์ภาษาถิ่น
ได้ก็เท่ากับว่าเราอนุรักษ์วัฒนธรรม วิถีชีวิต ของคนในท้องถิ่นนั้นได้เช่นกัน
แต่ครั้นจะโทษที่ตัวเด็กเสียทีเดียวก็ไม่ได้ คนที่ชอบโชว์ภูมิหลายๆท่าน ต่างแสดงทัศนคติด้านลบโจมตีเด็กๆว่า ไม่รักษาประเพณีบ้าง ไม่รักษ์บ้านเกิดบ้าง ทั้งนี้ทั้งนั้นเราควรดูครอบครัวด้วย พ่อแม่อายไม่ยอมให้ลูกพูดภาษาถิ่นมีอีกหลายๆครอบครัวที่ฟังแล้วต้องพยักหน้า หงึกๆ เพราะตนเองก็เป็นเหมือนกัน แต่หารู้ไม่ว่า การพูดภาษาถิ่นเป็นการแสดงความเป็นตัวเอง มันดูน่ารักมากกว่าเชยอยู่หลายพันเท่า
แต่นั่นไม่ใช่ทั้งหมด.
คำว่า “ชาติยิ่งใหญ่” ครอบงำกดขี่ทุกสิ่ง ระบบภาษาใต้จึงเป็นเพียงภาษาที่ต่ำต้อย การพูดสำเนียงทองแดงกลายเป็นเรื่องตลกขบขัน ภาษาที่แตกต่างแสดงให้เห็นถึงความเป็นชนกลุ่มน้อย ที่ไม่มีพื้นที่อยู่ในชาติ ไม่มีความเท่าเทียมทางสังคม ไม่เป็นที่ยอมรับของคนหมู่มาก และต้องได้รับการสั่งสอนให้พูดภาษากลางได้แบบที่คนศูนย์กลางอำนาจคือกรุงเทพ เท่านั้น
บทความของ อาจารย์ นพพร ประชากุล ที่ชื่อว่า วิพิธและอนิจจังแห่งภาษากล่าวไว้ว่า กระบวนการที่รัฐเข้าไปยึดครองการเข้ารหัสภาษา ดั่งเช่น ในช่วงสมัย รัชกาลที่6 มีการขายหนังสื่อที่ชื่อว่า หนังสือแต่งดีออกมา วรรณคดีเหล่านั้นล้วนใช้ภาษากลางทั้งหมด เพื่อชนชั้นสูงในเมืองหลวง ถึงแม้จะมีขุนช้างขุนแผนหลุดมาแต่ก็ถูกตัดคำภาษาถิ่นออกไปจำนวนมาก ส่งผ่านวาทกรรมว่าด้วยหนังสือทำดีผ่านสถานศึกษาและหนังสือพิมพ์การที่เด็กนักเรียน ถูกบังคับให้อ่านท่องจำวรรณกรรมหนังสือแต่งดีเหล่านี้ ทุกวันๆ เหมือนการถูกฝังชิป ภาษากลางซ้ำกันไปมาทุกๆวัน และ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ก็เป็นอีกตัวอย่างหนึ่งการที่ใช้ภาษาทางการ บังคับให้ออกเสียงตัว “ร” ให้กระดกลิ้นรัวๆ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นไปไม่ได้ที่คนพูดภาษาเหนือท้องถิ่น จะออกเสียงไม่ได้ นอกจากนี้ สื่อช่องพื้นฐานฟรีทีวี เสนอแต่ภาษากลางไม่มีช่วงรักษ์ภาษาถิ่น แสดงถึง ความไม่เท่าเทียมกันของคนในสังคม
ความจริงที่ว่า “จริงอยู่คนไม่ได้ตายไปไหน แต่ภาษาต่างหากที่ตาย การที่ภาษาตายแต่ภูมิปัญญาจะไม่ตายนั้นเป็นเรื่องไม่จริง เพราะภูมิปัญญามันถูกมัดแน่นไว้กับภาษา นอกจากนี้ อัตลักษณ์ รากเหง้าความเป็นตนเองก็หายไปด้วย จริงๆภาษาถิ่นเป็นการสะท้อนความร่ำรวยของภาษาไทยเสียด้วยซ้ำ” จะแสดงให้เราเห็นแบบชัดเจนในภายภาคหน้า โครงการ ทวิภาษา ในจังหวัดชายแดกใต้ มีขึ้นเพื่อ ป้องกันการตายของภาษาถิ่นเปรียบเสมือนโรงพยาบาลที่เกิดขึ้นเพื่อรักษาภาษาถิ่นไม่ให้ตายจากกันไป ภายใต้แนวคิดที่พวกเขาเชื่อว่า “ทวิภาษา นำพาสันติสุข” กรอบแนวคิดที่ว่า จะทำอย่างไรให้ชาวงมุสลิมไม่รู้สึกว่าพวกเราเป็นชนกลุ่มน้อยของสังคมโดยตัดสินจากภาษาถิ่นของเขา
นอกจากนี้ยังเป็นการรักษ์ภาษาถิ่นทางอ้อมด้วยโดยมีโรงเรียนนำร่อง 4แห่ง ใน 4จังหวัด โรงเรียนบ้านประจัน ในพื้นที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านบึงน้ำใส อ.รามัน จ.ยะลา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 10 อ.เมือง จ.นราธิวาส
โรงเรียนตำมะลังเหนือ อ.เมือง จ.สตูล การบูรณาการการทำงานภายใต้การนำยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพทรัพยากร มนุษย์มาใช้เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม เพิ่มโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งการอนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อให้เกิดความภาคภูมิ ใจในถิ่นฐานบ้านเกิดให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนในท้องถิ่นด้วย ส่วนการสอนจะใช้เทคนิค "Total Physical Response (TPR)" หรือระบบการสอนที่เน้นทักษะการฟัง-พูด โดยใช้การออกคำสั่งเป็นภาษาไทยสั้นๆ เช่น ยืน นั่ง กระโดด โบกมือ เพื่อให้เด็กปฏิบัติตาม เป็นการสอนแบบ “พัฒนาการเรียนรู้โดยเริ่มต้นจากสิ่งที่รู้ไปสู่สิ่งที่ไม่รู้”
ที่โรงเรียนบ้านประจัน ต.ประจัน อ.ยะรัง จ.ปัตตานี พบว่าการเรียนการสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ครู จะเน้นไปที่การเล่านิทานภาพเป็นภาษามลายู มีการตั้งคำ ถาม เพื่อให้เด็กใช้จินตนาการและพูดตอบโต้
แต่พอชั้นอนุบาล 2 จะเริ่มสอนในหมวดพยัญชนะ อาทิ ตัว ร.เรือ หรือ "รอดียู" ในภาษามลายู มีความหมายว่า "วิทยุ" โดยครูจะสะกดทีละพยางค์ และให้เด็กอ่านตาม โดยในแต่ละวันจะเน้นการทำกิจกรรมร่วมกันระหว่างครูกับเด็ก เพื่อพัฒนาทักษะการฟัง-การพูดภาษาไทยให้เด็กได้ฟังและปฏิบัติตาม เช่น ครูสั่งให้ยืนพร้อมกับโบกมือ และสั่งให้เด็กทำท่าทางต่างๆ ด้วยคำสั่งเป็นภาษามลายู และภาษาไทยง่ายๆ
ส่วนชั้น ป.1 ในวิชาคณิตศาสตร์ เป็นการฝึกทักษะการนับด้วยภาษามลายูถิ่น และภาษาไทย โดยเริ่มนับตั้งแต่ 1-10, 20, 30 จนถึงหลัก 100 สามารถต่อยอดการเรียนรู้ไปสู่ภาษามลายูกลาง อักษรยาวี และภาษามลายูกลางอักษรรูมี หรือ ภาษามาเลเซีย รวมทั้งยังสามารถพัฒนาต่อยอด ไปสู่ภาษาอินโดนีเซีย บรูไน ซึ่งเป็นภาษาเพื่อนบ้านที่สำคัญในประชาคมอาเซียน นอกจากนั้นภาษาที่ใช้มากที่สุดในประชาคนอาเซียนคือภาษามลายูอีกด้วย ดังนั้นเยาวชนจะมีพื้นฐานการศึกษาผ่านฐาน ทางภาษาที่แข็งแกร่งซึ่งเป็นภาษาสำคัญต่อการสื่อสารและสร้างสัมพันธมิตรที่ดีในกลุ่มประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน
หลักการและเหตุผล
เมื่อครั้งหนึ่งฉันจำได้ว่าเห็นพ่อหลวงของแผ่นดินผ่านจอแก้วกับพระบรมราโชวาทที่จำได้ขึ้นใจ
“ชาติไทยเรามีภาษาของเราใช้เองเป็นสิ่งอันประเสริฐอยู่แล้ว เป็นมรดกอันมีค่าตกทอดถึงเรา ทุกคนจึงมีหน้าที่ต้องรักษาไว้” เพราะภาษาไทยเรานี้มีทำนอง เป็นการแสดงตัวตนของคนในชาติ ความเป็นวิถีชีวิต ปรัชญา วัฒนธรรม ภาษาถิ่นก็เปรียบเสมือนกับความร่ำรวยของภาษาไทย ที่คำศัพท์คำหนึ่ง จะสามารมีชื่อเรียกออกไปได้หลายชื่อ
แสดงให้เห็นว่า ภาษาถิ่นก็คือภาษาไทย ไม่ควรแบ่งแยกความเป็นชาติพันธ์ เสมือนเป็นการแบ่งชนชั้นของสังคม
จนเกิดกลายเป็นปัญหาชายแดนใต้ในปัจจุบัน หนึ่งในสาเหตุอาจเป็นเพราะข้อเสียสุดโต่งในระบบทุนนิยมที่
ประเทศเรากำลังเป็น ช่องว่างระหว่างรายได้ที่ฟอนเฟะต่างกันราวฟ้ากับเหว ทำให้เกิดการแบ่งชนชั้นและความ
เป็นชาติที่โคตรจะเข้มข้นของเรา ทำให้คิดว่าต้องทำตามคนส่วนใหญ่ถึงจะถูก ชนกลุ่มน้อยเป็นเรื่องที่มองข้ามไปของสังคม อีกหนึ่งในพระราชดำรัสของพ่อหลวงคือ "เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณกาล จึงสมควรอย่างยิ่งที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะในด้านรักษาภาษาก็มีหลายประการ อย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในทางออกเสียงคือให้ออกเสียงให้ถูกต้องชัดเจน อีกอย่างหนึ่งต้องรักษาให้บริสุทธิ์ในวิธีใช้หมายความว่าวิธีใช้คำมาประกอบประโยค นับเป็นปัญหาที่สำคัญ ปัญหาที่สามคือความร่ำรวยในคำของภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่ร่ำรวยพอ
ต้องมีการบัญญัติศัพท์ใหม่มาใช้... สำหรับคำใหม่ที่ตั้งขึ้นมีความจำเป็นในทางวิชาการไม่น้อย แต่บางคำที่ง่ายๆ ก็ควรจะมี ควรจะใช้คำเก่าๆ ที่เรามีอยู่แล้ว ไม่ควรจะมาตั้งศัพท์ใหม่ให้ยุ่งยาก..." เป็นที่รับรู้กันว่าประชาชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีอัตลักษณ์ด้าน ภาษา ซึ่งแตกต่างจากไทยกลางซึ่งเป็นภาษาราชการ และภาษาไทยพื้นเมืองของคนในภูมิภาคอื่นทั่วประเทศ เพราะคนที่นี่กว่าร้อยละ 83 ใช้ภาษา "มลายูถิ่น" ในการสื่อสาร ซ้ำร้ายเด็กอีกจำนวนหนึ่งถึงขั้นปฏิเสธการศึกษาสายสามัญ ส่งผลกระทบต่อการหางานทำ และก่อปัญหาอื่นๆ ตามมามากมายการศึกษาของเยาวชนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และต่ำที่สุดในประเทศ
จึงเกิดการรวมตัวเป็นโครงการ ทวิภาษา มีโรงเรียนนำร่อง 4 แห่ง 4จังหวัดภาคใต้ คือ โรงเรียนบ้านประจัน
ในพื้นที่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี โรงเรียนบ้านบึงน้ำใส อ.รามัน จ.ยะลา โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 10 อ.เมือง จ.นราธิวาส
โรงเรียนตำมะลังเหนือ อ.เมือง จ.สตูล
เส้นเขตแดนทางภูมิศาสตร์เป็นเพียงเส้นสมมุติที่ถูกกำหนดโดยแต่ละ ประเทศ และเส้นเขตแดนในแต่ละยุคสมัยสามารถเปลี่ยนแปลงได้ในขณะที่บริเวณที่เป็นชายแดนของแต่ละประเทศนั้นมีการใช้วัฒนธรรมร่วมกันมานาน
ก่อนจะมีเส้นเขตแดนด้วยซ้ำ ดังนั้น ผู้คนตามบริเวณแนวชายแดนจึงสามารถสื่อสารและเข้าใจกันได้ง่ายกว่าหาก
ใช้ วัฒนธรรมเป็นตัวกลาง หากเราไม่ใช่คนท้องถิ่นนั้น แต่จำเป็นต้องใช้ชีวิตที่นั่น การเรียนรู้ภาษาถิ่นที่เราอาศัย
อยู่จะช่วยทำให้เข้าใจวัฒนธรรมในท้องถิ่นได้ ดียิ่งขึ้น ส่งผลถึงการยอมรับจากชาวบ้านที่นั่นด้วย
นอกจากนี้การเข้ามาของ Globalization ทำให้ความเป็น Localization หดหายไป โลกาภิวัตน์มาถึงเป็นยุคที่การสื่อสารไร้ที่สิ้นสุด เราเป็นหมู่บ้านโลก หรือ Global village ทำให้วัฒนธรรมต่างๆที่ถูกสร้างผ่านสื่อจำนวนมาก ไหลเวียนเข้ามาได้ง่าย เกิดความเป็น Pop culture ที่ทำให้ Traditional culture เลือนไปทีละนิด ทีละนิด ทั้งสื่อหนังสือพิมพ์ สื่อหนังสือ สื่อกระจายเสียงต่างพากันใช้ภาษากลาง ทำให้เด็กรุ่นใหม่ๆ ห่างเหินความเป็นท้องถิ่น
เข้าไปทุกที นอกจากนี้ปัจจุบันรัฐบาลเริ่มโหมกระหน่ำการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเตรียมตัวสู้อาเซียน ทำให้สื่อมากมายให้ความสนใจภาษาอังกฤษ หลักสูตรการศึกษาหลงลืมเรื่องภาษาถิ่น อันที่จริงก็หลงลืมกันมานานแล้ว
มุ่งแต่การก้าวสู่ AEC ด้วยภาษาอังกฤษ โดยหารู้ไม่ว่า ภาษามลายู ของคนใต้ ก็สามารถนำไปสู้การศึกษา อักษรยาวี อักษรรูมี เพื่อบรูไน และประเทศมาเลเซีย นอกจากนี้หลายๆประเทศยังใช้ จะเห็นว่าภาษาท้องถิ่นของแต่ละประเทศถ้าได้ถูกศึกษาแล้วนำไปใช้กับคนชาตินั้นๆ มันดูดีกว่าใช้ภาษาอังกฤษสื่อสารเยอะ รัฐบาลควรให้ความสนใจใน
การสอนแบบทวิภาษา เพราะนอกจากจะเป็นการเตรียมตัวสู่อาเซียนที่ดีแล้ว ผลวิจัยส่วนใหญ่ยังออกมาอีกว่า
เด็กที่เรียนแบบทวิภาษามีพัฒนาการทางสมองเรียนรู้ได้ดีกว่าเด็กที่เรียนภาษาเดียว เพราะทวิภาษาอาศัยการจดจำ
การต่อเติมความหมาย อักษร ทำให้ฝึกให้เด็กริเริ่มคิด ขีดเขียน นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ถ้าเราอนุรักษ์ภาษาถิ่น
ได้ก็เท่ากับว่าเราอนุรักษ์วัฒนธรรม วิถีชีวิต ของคนในท้องถิ่นนั้นได้เช่นกัน
ทวิภาษา
นอกจากเราจะมี“ภาษาไทย”อันเป็นภาษากลางที่ใช้อยู่ทั่วไปแล้ว เราต้องอย่าลืมว่า “ภาษาถิ่น”ของภาคต่างๆไม่ว่า
จะเป็นภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคอีสานก็เป็นภาษาไทยที่มีคุณค่าต่อเราเช่นกัน เพราะนอกจากจะทำให้เราสื่อสารกัน
ด้วยความรู้ ความเข้าใจทั้งในการพูด อ่าน เขียนในแล้ว ยังทำให้เราเข้าใจความหมายของกวีนิพนธ์ คำสอน
วิถีชีวิต เรื่องราวต่างๆของคนในอดีต อันมีผลต่อการศึกษาด้านจริยธรรม วรรณศิลป์และคติอีกด้วย เช่น สุภาษิต นิทานชาดกที่เป็นคือเป็นการบอกเล่าด้วยปากหรือวรรณกรรมที่มีการสอดแทรกคุณธรรมสอนเยาวชน
ภาษาไทยถิ่นใต้แยกออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1. ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันออก (สำเนียงนครศรีธรรมราช)
บริเวณจังหวัด นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา ปัตตานี 2. ภาษาไทยถิ่นใต้ตะวันตก ได้แก่ ภาษาไทยถิ่นใต้
ที่พูดอยู่บริเวณพื้นที่จังหวัดกระบี่ พังงา ภูเก็ต ระนอง สุราษฎร์ธานี และชุมพร
3.ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงเจ๊ะเห บริเวณพื้นที่จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี รวมทั้งในเขตรัฐกลันตันของมาเลเซีย อย่างไรก็ดี เราต้องไม่ลืมว่า “ภาษา” เป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นถึงความเป็น ชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษแต่ละชาติแต่ละภาษา ได้สร้างสรรค์และสืบทอดต่อเนื่องไปยังลูกหลานของตน ขอยกคำกล่าวของ หม่อมหลวง ปิ่น มาลากุล มากล่าว (ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้)
“ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ ของไทยแน่นั้นหรือคือภาษา ที่ผลิดอกออกผลแต่ต้นมา รวมเรียกว่าวรรณคดีไทย และอย่าลืมจิตใจแบบไทยแท้ เชื่อพ่อแม่ฟังธรรมคำสั่งสอน กำเนิดธรรมจริยาเป็นอาภรณ์ ประชากรโลกเห็นเราเป็นไทย ได้รู้เช่นเห็นชัดสมบัติชาติ เหลือประหลาดล้วนเห็นเป็นศักดิ์ศรี ล้วนไทยแท้ไทยแน่ไทยเรามี สิ่งเหล่านี้คือวัฒนธรรม
ความรุนแรงในช่วงหลายปีที่ผ่านมา คนมลายูมุสลิมจำนวนหนึ่งมองว่าโรงเรียนเป็นสถานที่ที่รัฐไทยใช้เพื่อกลืน วัฒนธรรมของพวกเขา และนั่นดูเหมือนจะเป็นเหตุผลว่าทำไมโรงเรียนของรัฐหลายร้อยโรงจึงถูกเผา ด้วยความขัดแย้งทางภาษาที่เมื่อก่อนโรงเรียนเปิดสอนแต่ภาษาไทย ทำให้ชาวมุสลิมจำนวนมากเกิดความรู้สึกถึงความไม่เท่าเทียมของสังคม นอกจากนี้ภาษาแม่อย่างภาษาถิ่นก็ใกล้จะตายลงเรื่อยๆ มหาวิทยาลัยมหิดลได้อธิบายถึงสถานการณ์ทางภาษาเล็กๆ ที่กำลังใกล้จะสูญไป ไว้ดังนี้ “การสูญเสียภาษาถิ่น หมายถึง การสูญเสียระบบความรู้ ความคิดและโลกทัศน์ ภูมิปัญญาด้านต่างๆ รวมทั้ง อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ และเครื่องมือสื่อสารและสื่อของการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ” ด้วยเหตุนี้รัฐบาลจึงเล็งเห็นความสำคัญและระบุให้เป็นวาระแห่งชาติที่ต้องแก้ไข มีมาตรการต่างๆดังนี้ ดังนี้ 1. รัฐต้องเร่งส่งเสริมการสอนแบบทวิภาษาในพื้นที่ตะเข็บชายแดนใต้ 2.รัฐต้องระดมความร่วมมือเพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในจังหวัดที่มีความ หลากหลายทางวัฒนธรรม ศาสนา 3 .รัฐและทุกภาคส่วนระดมความร่วมมือเพื่อขยายกิจกรรมสร้างเสริมนิสัยการ อ่านอย่างยั่งยืน 4.สร้างกลไกระบบเกื้อหนุน
5.นำภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม และ 6.พัฒนาบทบาทครูรวมถึงปรับปรุงโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้มีชีวิต.
คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และรองประธานมูลนิธิคุณพุ่ม เปิดเผยว่า จากการประชุมผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อเร็ว ๆ นี้ ที่ประชุมได้รายงานผลการดำเนินโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทยในโรงเรียน แนวชายแดนใต้ โดยนำภาษาท้องถิ่นไปร่วมจัดการเรียนรู้ หรือโครงการทวิภาษา พบว่ามีเด็กนักเรียนที่ใช้ภาษาถิ่น เช่น ภาษามลายู ถึงร้อยละ 50 เมื่อประเมินผลสัมฤทธิ์พบว่าเด็กกลุ่มนี้มีผลคะแนนวิชาภาษาไทยต่ำมาก แต่เมื่อนำโครงการดังกล่าวไปนำร่อง ทำให้เด็กในระดับ อนุบาลถึงประถมศึกษามีความสุขกับการเรียนมากขึ้น เพราะสามารถสื่อสารเข้าใจกับครูได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ การจัดการเรียนการสอนตามโครงการทวิภาษาจะเป็นการปรับกระบวนการเรียนการสอน ใหม่ เช่น จัดทำสื่อการเรียนรู้พื้นฐานเชื่อมโยงกับภาษาถิ่น หรือให้คณะกรรมการสถานศึกษา ร่วมออกแบบสื่อการเรียนรู้ให้ เพื่อให้สอดคล้องกับเด็กตามสภาพพื้นที่ ขณะเดียวกันจะมีการอบรมครูให้เข้าใจภาษาถิ่นควบคู่ไปด้วย
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยมหิดลให้ประเมินโครงการทวิภาษาและเน้นว่าการเรียนการสอนแบบทวิภาษาจะมีส่วนช่วย 1) เพิ่มสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนของเด็กกลุ่มชาติพันธุ์ได้จริงหรือไม่
และ 2) สามารถพัฒนาทักษะภาษาไทยของเด็กในกลุ่มชาติพันธุ์ให้ดีขึ้นได้จริงหรือไม่ และอย่างไร มีวัตถุประสงค์การประเมินดังนี้ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระหว่างโรงเรียนทดลองและโรงเรียนคู่เทียบ และ 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านของนักเรียน มีกลุ่มเป้าหมายคือโรงเรียนเขตพื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนใต้ จำนวน 8 โรงเรียน โรงเรียนทดลอง 4 โรงเรียน คือรายชื่อโรงเรียน 4 โรงเรียนที่กล่าวไว้ที่บทนำ และโรงเรียนคู่เทียบ 4 โรงเรียน นำไปดำเนินการทดสอบกับนักเรียน สำหรับผลการวิจัยเป็นดังนี้
1) นักเรียนของโรงเรียนทดลองมีคะแนนสูงกว่านักเรียนของโรงเรียนคู่เทียบในทุก สาระการเรียนรู้
2) ทักษะการอ่านของนักเรียนโรงเรียนทดลองมีศักยภาพการอ่านสูงกว่านักเรียน โรงเรียนคู่เทียบ
3) ผลการเปรียบเทียบจำนวนนักเรียนที่สอบได้ในช่วงควอไทล์ต่างๆ ระหว่างโรงเรียนทดลองและโรงเรียนคู่เทียบในทุกสาระการเรียนรู้ ปรากฏดังแผนภูมิ
นราธิวาส
โรงเรียนกำปงปีแซ อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส
โรงเรียนบ้านหัวคลอง อ.ตาบใบ จ.นราธิวาส
โรงเรียนบ้านลูโบ๊ะซามา อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส
โรงเรียนบ้านบูเกะตาโมง อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส
โรงเรียนกำปงปีแซ อ.ยี่งอ จ.นราธิวาส
โรงเรียนบ้านหัวคลอง อ.ตาบใบ จ.นราธิวาส
โรงเรียนบ้านลูโบ๊ะซามา อ.สุไหงโก-ลก จ.นราธิวาส
โรงเรียนบ้านบูเกะตาโมง อ.เจาะไอร้อง จ.นราธิวาส
ปัตตานี
โรงเรียนจือโร๊ะ อ.เมือง ปัตตานี
โรงเรียนบ้านลดา อ.เมือง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านกรือเซะ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านบูโกะ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านบน อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
โรงเรียนจือโร๊ะ อ.เมือง ปัตตานี
โรงเรียนบ้านลดา อ.เมือง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านกรือเซะ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านบูโกะ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี
โรงเรียนบ้านบน อ.สายบุรี จ.ปัตตานี
ยะลา
โรงเรียนบ้านปงตา อ.รามัน จ.ยะลา
โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ อ.รามัน จ.ยะลา
โรงเรียนบ้านปาแดรู อ.ยะหา จ.ยะลา
โรงเรียนบ้านปงตา อ.รามัน จ.ยะลา
โรงเรียนบ้านตะโละหะลอ อ.รามัน จ.ยะลา
โรงเรียนบ้านปาแดรู อ.ยะหา จ.ยะลา
ส่วนเสริม
อาจเพราะเราไม่ใช่ชาตินิยม รู้หรือไม่ว่า ประเทศจีน เป็นอีกตัวอย่างการใช้ภาษาของตนที่ดี ประเทศจีนใหญ่กว่าประเทศไทยถึง 30 เท่า ไม่ต้องบรรยายว่าภาคเหนือกับภาคใต้อยู่ห่างกันกี่พันลี้ ทำให้มีความหลากหลายในภาษาถิ่น และที่สำคัญพวกเขายังใช้มันจวบจนทุกวันนี้ อาจเพราะความเป็นชาตินิยมที่ถูกปลูกฝังให้รักชาติ ปฏิเสธภาษาอื่นๆทุกรูปแบบ ภาษาจีนถูกขโมยไปใช้โดยญี่ปุ่น เกาหลี และ ฮ่องกง ถึงแม้ตัวอักษรที่ถูกขโมยไปจะถูกแต่ละชาติเปลี่ยนเสียงให้เป็นของชาติตน แต่คนจีนยังคงอ่านคำเหล่านั้นเป็นภาษาจีน ไม่ใส่ใจว่าชาตินั้นออกเสียงว่าอะไรเพราะถือว่านี่คือภาษาของพวกเขา ทำให้พวกเขายังคงมีภาษาถิ่นใช้ ความร่ำรวยของภาษาสะท้อนออกมาตามความหลากหลายของคำศัพท์ จากความขัดแย้งมากมายทางภาษาและวัฒนธรรม ภาษาถิ่นที่ถูกภาษากลางบทบัง ด้วยอำนาจทุนนิยม ความไม่เท่าเทียมกันของคนในสังคม ถูกนำไปกล่าวอ้าง ตู่เติมในการใช้ความรุนแรง ไร้ซึ่งมนุษยธรรมโดยสิ้นเชิง ในสามจังหวัด ภาครัฐจึงเริ่มให้ความสนใจกับ “สันติศึกษา” ที่สร้างรากฐานสันติภาพในจิตใจของเด็กๆ ดั่งคำกล่าวของผู้ยิ่งใหญ่ อย่าง Gandhi “หากเราต้องการสันติภาพที่แท้จริง ต้องเริ่มต้นที่เด็ก” กอปรกับยุค social media
การเข้ามาของโครงการ tablet เพื่อเด็กประถมศึกษา ของรัฐบาลปัจจุบันการสอนด้าน สันติศึกษาได้มีการพัฒนา content ให้ง่ายต่อการเจ้าถึง จากอุปกรณ์ tablet PEACeXCELS เป็นการอบรมระยะสั้นออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่มีความยืดหยุ่น ภายใต้หลักสูตร “สันติศึกษาสู่ความเป็นเลิศสำหรับผู้นำสถานศึกษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” (Peace Education Excellence in School Leadership for Southeast Asia)
ส่วนแรก เป็นการปลูกฝังสันติภาพ ในตนเองและการเป็นนักต่อสู้เพื่อสันติภาพในโรงเรียน
ส่วนที่ 2 การส่งเสริมสันติภาพ และการเคารพในความหลากหลายทางวัฒนธรรมในโรงเรียนและชุมชน
รูปแบบการเรียนรู้ได้รับการออกแบบให้มีการโต้ตอบ ศึกษาด้วยตนเอง และนำหลัก การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่
4 A’s มาใช้ คือ กิจกรรม การวิเคราะห์ การปฏิบัติ และการนำไปใช้ (Activity, Analysis, Abstraction, and Application) โดยผู้รับการอบรมจะต้องเรียนรู้เนื้อหาด้วยตนเองจากเอกสาร CD-based และ Web-based
เพราะพวกเขาเชื่อว่า สันติภาพเริ่มได้จากตัวเราเอง ขยายออกไปสู่คนรอบข้าง ชุมชนและสังคม
การใช้ภาษาแม่ L1 นำไปสู่การพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของภาษาที่ 2 L2 คือภาษาไทย การสอนจะเน้นให้เด็กค่อยๆก้าวขึ้นไปทีละขั้นจนใช้ภาษาได้อย่างชำนาญ เป็นการเรียนจากสิ่งที่รู้ไปยังสิ่งที่ไม่รู้ ดั่งเช่นแผนภูมิ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น